เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1451 วัด
สำนักสงฆ์
84 วัด
ที่พักสงฆ์
71 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1620 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8549 รูป
สามเณร
325 รูป
แม่ชี
91 รูป
ศิษย์วัด
36 คน
บุคคลทั่วไปชาย
40 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
50 คน
ทั้งหมด
9091 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
41 รูป
สามเณร
28 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
73 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7377 รูป
ลาสิกขา
28 รูป
มรณภาพ
5 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดไร่ขิง พระอารามหลวง

รหัสวัด
10072533

ชื่อวัด
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ

วันตั้งวัด
ปี 500

วันรับวิสุงคามสีมา
ปี 500

ที่อยู่
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง

เลขที่
51

หมู่ที่
2

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
ไร่ขิง

เขต / อำเภอ
สามพราน

จังหวัด
นครปฐม

ไปรษณีย์
73210

เนื้อที่
450 ไร่ - งาน - ตารางวา

Facebook
คลิกดู

โทรศัพท์
034323616

คุณสมบัติวัด

เป็นวัดท่องเที่ยว
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง
เป็นอุทยานการศึกษาในวัด
เป็นมูลนิธิ1.มูลนิธิหลวงพ่อวัดไร่ขิง 2.มูลนิธิเมตตาประชารัก (วัดไร่ขิง) 3.มูลนิธิพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปัญญา อินฺทปญฺโญ)

จำนวนเข้าดู : 9167

ปรับปรุงล่าสุด : 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 09:10:07

ข้อมูลเมื่อ : 15 กันยายน พ.ศ. 2564 14:38:44

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

ประวัติความเป็นมาวัดไร่ขิง
    
วัดไรขิง แต่เดิมเป็นวัดราษฎรขนาดเล็กแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ติดริมแม่น้ำนครชัยศรี (ท่าจีน) สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๓
     อาณาเขตของวัดไร่ขิง มีเนื้อที่ทั้งหมด ๔๕๐ ไร่ โดยเป็นที่ตั้งวัด ๑๕๐ ไร่ เป็นที่ธรณีสงฆ์ ๓๐o ไร่ แบ่งเป็นเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส และที่ธรณีสงฆ์ ดังนี้
      - ทิศเหนือ                    จรดแม่น้ำนครชัยศรี (ท่าจีน)
      - ทิศใต้                        จรดแนวผ่านสนามกอล์ฟ
      -  ทิศตะวันออก            จรดตำบลไร่ขิง
      -  ทิศตะวันตก              จรดตำบลท่าตลาด
      - ทิศตะวันออก             มีกำแพงล้อมตลอดพื้นที่ของวัด
      ทิศเหนือด้านหน้าวัด มีเขื่อนกั้นริมแม่น้ำตลอดแนว ทิศใต้และทิศตะวันออกมีกำแพงล้อมตลอดพื้นที่ของวัด

ต้นกำเนิดชื่อวัดไร่ขิง
    สำหรับชื่อวัดนั้น มีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า พื้นที่วัดในอดีตมีชาวจีนปลูกบ้านอาศัยอยู่กันเป็นจำนวนมาก และนิยมปลูกขิงกันอย่างแพร่หลาย จนเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านหรือชุมชนในแถวนี้ว่า “ไร่ขิง” ต่อมาเมื่อมีชุมชนหนาแน่นมากยิ่งขึ้น จึงได้มีการสร้างวัดเพื่อเป็นจุดศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ดังนั้น วัดจึงได้ชื่อตามชื่อของหมู่บ้านหรือชุมชนว่า “วัดไร่ขิง”

วัดไร่ขิง เคยใช้ชื่อ “วัดมงคลจินดาราม”
      ในราวปี พ.ศ. ๒๔๔๖ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณโรส วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เสด็จตรวจเยี่ยมวัดในเขตอำเภอสามพรานท่านได้เสด็จมาที่วัดไรขิง และทรงตั้งชื่อวัดใหม่ว่า “วัดมงคลจินดาราม” ทั้งทรงใส่วงเล็บชื่อเดิมต่อท้ายจึงกลายเป็น “วัดมงคลจินดาราม (ไร่ขิง)” เมื่อเวลาผ่านพ้นมานาน และคงเป็นเพราะความกร่อนของภาษาจีนทำให้วงเล็บหายไป คงเหลือเพียงคำว่า “ไร่ขิง” ต่อท้ายคำว่า “มงคลจินดาราม” จึงต้องเขียนว่า “วัดมงคลจินดาราม - ไร่ขิง” แต่ในทางราชการยังคงใช่ชื่อเดิมเพียงว่า “วัดไร่ขิง พระอารามหลวง” สืบมาจนทุกวันนี้

พระปฏิมากร
     องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิงเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๔ ศอก ๒ นิ้วเศษ สูง ๔ ศอก ๑๖ นิ้วเศษ ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชี ๕ ชั้น ซึ่งมีพุทธศิลป์ที่งดงามอย่างยิ่งในทางศิลปะที่ผสมผสานพุทธศิลป์ ๓ สมัย อันได้แก่ สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย และสมัยอู่ทอง คือ พระวรกายแบบพุทธศิลป์สมัยเชียงแสน นิ้วพระหัตถ์เรียวงามตามแบบพุทธศิลป์ สมัยสุโขทัย และเฉพาะพระพักตร์ รูปสี่เหลี่ยม พระเนตรตรงกลางหลบต่ำ ที่สำคัญมีเส้นขอบพระศก (ไรผม) และเม็ดพระศก ขนาดเล็ก แน่นเหมือนหนามขนุน ตามแบบพุทธศิลป์สมัยอู่ทองหันพระพักตร์ไปทางทิศอุดร (ทิศเหนือ) ซึ่งหน้าวัดมีแม่น้ำนครชัยศรี (ท่าจีน) เป็นพระประธานประดิษฐานอยู่ภายในพระอุโบสถวัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิงนั้น สมเด็จพระพุฒาจารย์ (พุก) ได้อัญเชิญมาจากวัดศาลาปูนวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภายหลังจากที่ได้สร้างอุโบสถเสร็จแล้วนั้น ซึ่งอยู่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๔) และได้ประดิษฐานอยู่ภายในอุโบสถวัดไร่ขิง มานานถึงปัจจุบันรวมนับได้ ๑๗๐ ปีกว่าแล้ว

ตำนานหลวงพ่อวัดไร่ขิง
     หลวงพ่อวัดไร่ขิง เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมีประวัติจากคำบอกเล่าหรือที่เรียกว่า “มุขปาฐะ” สืบต่อกันมาหลายตำนานตามตำนานกล่าวถึงการได้มาซึ่งองค์หลวงพ่อวัดไร่ขิงนั้นว่าได้ถูกอัญเชิญมาจากกรุงเก่า (อยุธยา) เป็นพระพุทธรูปที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือกันมาก ในวันที่อัญเชิญหลวงพ่อวัดไร่ขิงขึ้นจากท่าน้ำที่หน้าวัดไร่ขิง ตรงกับวันพระขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ ซึ่งเป็นวันสงกรานต์ มีประชาชนมาชุมนุมกันมาก ในขณะที่อัญเชิญขึ้นจากน้ำสู่ประรำพิธี เกิดความมหัศจรรย์ แสงแดดที่แผดจ้ากลับพลันหายไป ความร้อนระอุในวันสงกรานต์กลางเดือนห้านั้น บังเกิดมีเมฆดำทะมึน ลมปั่นป่วน ฟ้าคะนองก้องในนภากาศ บันดาลให้ฝนโปรยลงมา ยังความเย็นฉ่ำใจทั่วหนทุกคนในที่นั้นเกิดความยินดีพากันอธิษฐานจิตว่า “ขอหลวงพ่อจักทำให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขดับความร้อนคลายความทุกข์ให้หมดไป ดุจสายฝนที่เมทนีดลทำให้ชุ่มฉ่ำ เจริญงอกงามด้วยธัญญาหาร” และในบัดนี้ก็ปรากฏเป็นความจริงแจ้งประจักษ์ ว่าหลวงพ่อได้ดลบันดาลให้เกิดสภาพการณ์อย่างนั้นแก่ทุกคนที่ประพฤติธรรม

คาถาบูชาหลวงพ่อวัดไร่ขิง”
     (เริ่มตั้ง “นโมฯ...” ก่อน ๓ จบ) “กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา มะเหสักขายะ เทวตายะ อะภิปาลิตัง อิทธิปาฏิหาริกัง มังคะละจินตารามะ พุทธะปาฏิมากะรัง ปูชามิหัง ยาวะชีวัญจะ สุกัมมิโก สุขะปัตถิตายะ (สาธุ)”

เทศกาลนมัสการปิดทองหลวงพ่อวัดไร่ขิง
     วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม ทางวัดจัดให้มีงานเทศกาลนมัสการปิดทองหลวงพ่อวัดไร่ขิง ในกลางเดือน ๕ ทางจันทรคติ แต่เนื่องด้วยตรงกับวันสงกรานต์พอดี การนับทางสุริยคติและทางจันทรคติไม่ตรงกันทางวัดจึงยึดถือเอากลางเดือน ๕ เป็นวันจัดเทศกาลนมัสการปิดทองหลวงพ่อวัดไร่ขิง

“ตำนานหลวงพ่อ ๕ พี่น้อง “พระพุทธปัญจภาคีวารีปาฏาหาริย์”
พระพุทธรูปองค์ที่ ๑ ลอยไปตามแม่น้ำนครชัยศรี (ท่าจีน) ขึ้นสถิตที่วัดไร่ขิง เมืองนครปฐม ขนานนามว่า “หลวงพ่อวัดไร่ขิง”
พระพุทธรูปองค์ที่ ๒ ลอยไปตามแม่น้ำเจ้าพระยา ขึ้นสถิตที่วัดบางพลีใหญ่ใน ขนานนามว่า “หลวงพ่อโตวัดบางพลี”
พระพุทธรูปองค์ที่ ๓ ลอยไปตาแม่น้ำเพชรบุรี ขึ้นสถิตที่วัดเขาตะเครา เมืองเพชรบุรี ขนานนามว่า “หลวงพ่อทองวัดเขาตะเครา”
พระพุทธรูปองค์ที่ ๔ ลอยไปตามแม่น้ำบางปะกง ขึ้นสถิตที่วัดวัดโสธรวรารามวรวิหาร เมืองแปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา ขนานนามว่า “หลวงพ่อโสธร”
พระพุทธรูปองค์ที่ ๕ ลอยไปตามแม่น้ำแม่กลอง ขึ้นสถิตที่วัดบ้านแหลม เมืองแม่กลอง ขนานนามว่า “หลวงพ่อวัดบ้านแหลม”

ลำดับเจ้าอาวาสผู้ปกครองวัดไร่ขิง
     วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นซึ่งมีอายุยาวนานถึงปัจจุบันนี้ได้ ๑๖๙ จากหลักฐานของวัดไร่ขิงมีเจ้าอาวาส ปกครองวัดมาแล้วรวม ๑๐ รูป ซึ่งปกครอง ตามลำดับดับนี้
๑. หลวงพ่อจาด
๒. หลวงพ่อคง
๓. หลวงพ่อรักษ์
๔. หลวงพ่อมุ้ย
๕. พระอธิการใช้ ปติฏฺโฐ อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รูปที่ ๕ รักษาการเจ้าอาวาสวัดไร่ขิงในระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๕๕ – พ.ศ. ๒๔๗๕ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๕ – พ.ศ. ๒๔๗๗
๖. พระครูมงคลวิลาส (เฉย กิตฺติสาโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รูปที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๗๘ – พ.ศ ๒๕๐๐
๗. พระอาจารย์ชื้น ปฏิกาโร (รักษาการเจ้าอาวาส)
๘. พระครูถาวรวิทยาคม (เพิ่ม ทิฏฺโฐ) อดีตเจ้าอาวาสวัดสรรเพชญ และเจ้าคณะตำบลยายชา รักษาการเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รูปที่ ๘ ต่อมาถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๓
๙. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปัญญา อินฺทปญฺโญ ป.ธ.๖) อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวงรูปที่ ๙ และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง ตั้งแต่วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๓ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๑
๑๐. พระธรรมวชิรานุวัตร (แย้ม กิตฺตินฺธโร ป.ธ.๓) ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวง รูปที่ ๑๐ ตั้งแต่วันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึงปัจจุบัน และดำรงตำแหน่งเจ้าคณะภาค ๑๔

แผนที่ภาพ

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระธรรมวชิรานุวัตร (แย้ม) กิตฺตินฺธโร

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 12-02-2566

พระราชวิสุทธาจารย์ (ปราณี) อินฺทวํโส

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 28-12-2564

พระรัตนสุธี (รวม) สุเมธี

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 29-12-2564

พระครูโสภณปฐมาภรณ์ (ทวี) สิรินฺธโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-02-2566

พระครูปฐมธีรวัฒน์ (บัญชา) ฐิตธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-02-2566

พระครูปฐมธรรมวงศ์ (สุรศักดิ์) ปญฺญาธีโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-02-2566

พระครูพิสิฐธรรมนันท์ (อิทธิพัทธ) ฉนฺทธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-01-2565

พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ (ถาวร) ถาวโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-02-2566

พระครูวินัยธรสมัย เตชสีโล

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-01-2565

พระครูวินัยธรอภิเชษฐ์ อภิเชฏฺโฐ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

พระครูปลัดสุวัฒนวิมลคุณ (พงศ์พันธ์) ขนฺติโสภโณ

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 19-02-2566

พระมหาชนะชัย โสตฺถิโก

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 20-01-2565

พระมหาขวัญชนก สิกฺขาสโภ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 02-06-2565

พระมหาประกาศิต สิริเมโธ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระมหาอดิเรก อติเรโก

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 02-06-2565

พระมหาวัชระ วชิรเวที

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 02-06-2565

พระมหากิตติ กิตฺติเมธี

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระมหาวิง จิตฺตาสโภ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 02-06-2565

พระมหาวีรภัทร วีรภทฺโท

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 02-06-2565

พระมหาอลงกต วราลงฺกาโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระมหาไพบูลย์ วิปุโล

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระมหาณรงค์ศักดิ์ สุทนฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระมหานภูรินทร์ ฐิตทนฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระปลัดพุฒิพงศ์ กิตฺติวฑฺฒโน

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระปลัดปฐมชัย เขมธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระมหาจักรกฤษ ทินฺนปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 16-07-2565

พระมหาพุฒิแผน ปญฺญาวุโธ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 16-07-2565

พระมหาธนภูมิ ปุริสุตฺตโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 16-07-2565

พระมหาเอกพจน์ ณฏฺฐวํโส

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระครูสมุห์ธัญพิสิษฐ์ สุภธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระครูใบฎีกาธีรยุทธ จนฺทูปโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระสมุห์เสริมศักดิ์ เขมธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-01-2566

พระสมุห์นพดล กนฺตวีโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระใบฎีกาวราวุธ จิรธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระใบฎีกาภมร คมฺภีรปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระใบฎีกาสุนันท์ ปญฺญาวชิโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระทศพล พลปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระพรชัย จนฺทสาโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระคงศักดิ์ จกฺกรตโน

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-07-2565

พระสมโภช ติกฺขวีโร

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระสมชาย จารุธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระนรินทร์ จนฺทโสภโณ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระไพรินทร์ จารุวณฺโณ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระศรายุทธ สมจิตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระวิรัช ธมฺมยุตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระพีรยุทธ ฐิตเมโธ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระพิเชฐ จนฺทโสรโต

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระทัศนัย ทสฺสนีโย

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระศุภกริช ปญฺญาสโภ

ข้อมูลเมื่อ : 26-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 13-06-2565

พระสมชาย โสตฺถิทตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 28-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-03-2566

พระเฉลิมเกียรติ ภูริปัญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 13-08-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระจิรภัทร อธิปญโญ

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

พระธิติวุฒิ อภิญาโณ

ข้อมูลเมื่อ : 28-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-01-2566

สามเณรกวีวัธน์ สิริทรัพย์ทวี

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 05-01-2565

สามเณรพร้อมสุข นาชารี

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 05-01-2565

สามเณรอานนท์ ทูปขุนทด

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 04-02-2566

สามเณรโกศล แสงวันทอง

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 19-01-2565

สามเณรเกรียงไกร โชติโภคา

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

สามเณรพนธกร ทองไชย

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

สามเณรทัตเทพ สัญนาค

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

สามเณรวุฒิชัย ศิริปี

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

สามเณรสิงห์ทอง คำพร

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-01-2566

สามเณรกานต์ อุดมธนกร

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-01-2566

สามเณรอภิชิต โพธิ์เงิน

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-01-2565

สามเณรวีพัฒชา เจือจันทร์

ข้อมูลเมื่อ : 29-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-01-2566

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

พิธีมอบตราตั้งเจ้าคณะอำเภอสมุทรสาคร

ข้อมูลเมื่อ : 22-03-2566

เปิดดู 14 ครั้ง

เทศกาลงานบุญประเพณี

ปฎิทินกิจกรรมปร...

วันที่จัดงาน : 01-01-2566

เปิดดู 23 ครั้ง

ขอเชิญร่วมทำบุญ...

วันที่จัดงาน : 06-03-2566

เปิดดู 59 ครั้ง

งานเทศกาลนมัสกา...

วันที่จัดงาน : 01-04-2566

เปิดดู 325 ครั้ง

ปูชนียวัตถุสถาน

พระบรมธาตุเจดีย...

ข้อมูลเมื่อ : 24-09-2564

เปิดดู 4147 ครั้ง

มณฑป

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

เปิดดู 1026 ครั้ง

บ้านดิน อินทณัฐ

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

เปิดดู 2010 ครั้ง

ศาลาหลวงพ่อ ๕ พ...

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

เปิดดู 314 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ท้าวเวสสุวรรณ ณ...

ข้อมูลเมื่อ 03-03-2566

เปิดดู 23 ครั้ง

พระบาทสมเด็จพระ...

ข้อมูลเมื่อ 14-02-2566

เปิดดู 128 ครั้ง

พระอุบาลี 100 ป...

ข้อมูลเมื่อ 14-02-2566

เปิดดู 124 ครั้ง

สาระธรรม

การให้

ข้อมูลเมื่อ : 28-03-2566

เปิดดู 3 ครั้ง

เริ่มต้นวันใหม่ด้วยการคิดแต่สิ่งที่ดีๆ

ข้อมูลเมื่อ : 27-03-2566

เปิดดู 6 ครั้ง

บทเรียนแห่งอนิจจัง

ข้อมูลเมื่อ : 27-03-2566

เปิดดู 7 ครั้ง

อย่าไปจมกับสิ่งหนึ่งสิ่งใด

ข้อมูลเมื่อ : 24-03-2566

เปิดดู 11 ครั้ง

อย่ามัวแต่หาความหมายของชีวิต

ข้อมูลเมื่อ : 23-03-2566

เปิดดู 8 ครั้ง

ความสุขนั้นไม่ได้อยู่ที่ "เขา"

ข้อมูลเมื่อ : 22-03-2566

เปิดดู 10 ครั้ง

ความดี

ข้อมูลเมื่อ : 21-03-2566

เปิดดู 8 ครั้ง

ช่วงเวลาที่ตกต่ำที่สุด

ข้อมูลเมื่อ : 20-03-2566

เปิดดู 4 ครั้ง

พระพุทธเจ้าตรัสว่า

ข้อมูลเมื่อ : 20-03-2566

เปิดดู 94 ครั้ง

สื่อมีเดีย

จิตรกรรมภาพสถาน...

ข้อมูลเมื่อ : 24-02-2566

เปิดดู 86 ครั้ง

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด