เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8362 รูป
สามเณร
302 รูป
แม่ชี
89 รูป
ศิษย์วัด
33 คน
บุคคลทั่วไปชาย
39 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
53 คน
ทั้งหมด
8878 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
40 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
69 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7208 รูป
ลาสิกขา
35 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

สื่อมีเดีย

พระพุทธรูปปางนั่งสมาธิ

รายละเอียด
ปางสมาธิเป็นพระพุทธรูปลักษณะนั่งสมาธินั่งลำพระองค์ตั้งตรงพระบาท (เท้า) ทั้งสองซ้อนกัน โดยพระบาทขวาซ้อนทับอยู่บนพระบาทซ้าย พระหัตถ์ทั้งสองวางซ้อนหงายกันบนพระเพลา (ตัก) โดยวางพระหัตถ์ขวาซ้อนหงายอยู่บนพระหัตถ์ซ้าย (ท่าสมาธิราบ ขาขวาทับขาซ้าย) จัดเป็น "ปฐมปาง" หรือปางที่ให้กำเนิดองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยพระองค์ทรงอยู่ในพระอิริยาบถนี้ในคืนวันตรัสรู้ เรียกได้อีกอย่างว่าปางตรัสรู้ หรือเป็นพระพุทธรูปในอิริยาบถประทับนั่งสมาธิโดยใช้ข้อพระบาททั้งสองข้างขัดกันซึ่งเรียกว่า (ปางขัดสมาธิเพชร)
ประวัติ
เป็นท่านั่งสมาธิ
หลังจากพระพุทธเจ้าทรงกำจัดพระยามาร และเสนามารให้ปราชัยไปแล้ว ด้วยพระบารมีตั้งแต่เวลาเย็นก่อนพระอาทิตย์ตก (ปางมารวิชัย) ทรงเจริญสมาธิภาวนาด้วยท่านั่งสมาธินี้จนทำจิตให้ปราศจากอุปกิเลส บรรลุปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌานและจตุถฌานซึ่งเป็นส่วนของรูปสมาบัติ ที่เรียกว่า "เข้าฌานสมาบัติ" จากนั้นก็ใช้ฌานสมาธิที่เเน่วแน่นั้น เจริญปัญญา หรือองค์วิปัสนา จนได้บรรลุ "ญาณ" (คือ ความรู้แจ้ง) ที่เรียกว่า "อภิญญาณาณ" (ความรู้แจ้งอันประเสริฐสุด) ทั้งสามประการคือ ทรงบรรลุญาณที่หนึ่ง ในตอนปฐมยาม (ประมาณ 3 ทุ่ม) ญาณนี้เรียกว่า "บุพเพนิวาสานุสติณาณ" หมายถึง ความรู้แจ้งถึงอดีตชาติหนหลังทั้งของตนและของคนอื่น พอถึงมัชฌิมยาม (ประมาณเที่ยงคืน) ก็ได้บรรลุญาณที่สอง ที่เรียกว่า "จุตูปปาตญาณ" หมายถึง ความรู้แจ้งถึงความจุติ คือ ดับและเกิดของสัตว์โลก ตลอดจนถึงความต่างกันที่เรียกว่า "กรรม" พอถึงปัจฉิมยาม (หลังเที่ยงคืนล่วงแล้ว) ทรงบรรลุญาณที่สาม คือ "อาสวัคขยญาณ" หมายถึง ความรู้แจ้งถึงความสิ้นไปของกิเลส และอริยสัจสี่คือความทุกข์ (ทุกข์) เหตุเกิดของความทุกข์ (สมุทัย) ความดับทุกข์ (นิโรธ) วิธีดับทุกข์ (มรรค) และกำจัดอวิชฌาไปจนสิ้นจากกมลสันดาน
ความเชื่อเเละคตินิยม
1.เป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิดของคนเกิดวันพฤหัสบดี
2.พระคาถาบูปชา สวด 19 จบ
 
ปูเรนตัม โพธิสัมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยัง เยนะ สังวิหิตารักขัง มะหาสัตตัง วะเนจะราฯ จิรัสสัง  วายะมันตาปี  เนวะ  สักขิสุ  คัณหิตุง  พรัหมะ มันตินติ  อักขาตัง  ปะริตตัน ตัมภะณามะเหฯ




 

โดย : วัดดอกบัว

ที่อยู่ : ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี

จำนวนเข้าดู : 108

ปรับปรุงล่าสุด : 10 มีนาคม พ.ศ. 2565 15:48:00

ข้อมูลเมื่อ : 8 มีนาคม พ.ศ. 2565 11:12:46

 
 
 
 

สื่อมีเดีย 10 อันดับ

งานฉลองตราตั้งพระอุปัชฌาย์

โดย วัดศีรษะเกษ

ข้อมูลเมื่อ : 07-05-2567

เปิดดู : 14

วันนี้วันพระ (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 30-04-2567

เปิดดู : 43

วันนี้วันพระ (๒๓ เมษายน ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 23-04-2567

เปิดดู : 44

วันนี้วันพระ (๑๖ เมษายน ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 16-04-2567

เปิดดู : 68

ทำบุญวันสงกรานต์

โดย วัดดอนไก่ดี

ข้อมูลเมื่อ : 10-04-2567

เปิดดู : 17

วันนี้วันพระ (๘ เมษายน ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 08-04-2567

เปิดดู : 68

วันนี้วันพระ (๙ มีนาคม ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 09-03-2567

เปิดดู : 71

วันนี้วันพระ (๓ มีนาคม ๒๕๖๗)

โดย วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 03-03-2567

เปิดดู : 66