เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1454 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1623 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8287 รูป
สามเณร
290 รูป
แม่ชี
87 รูป
ศิษย์วัด
38 คน
บุคคลทั่วไปชาย
41 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
52 คน
ทั้งหมด
8795 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
46 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
75 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7142 รูป
ลาสิกขา
42 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดสวนหงส์

รหัสวัด
02720402005

ชื่อวัด
วัดสวนหงส์

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
ปี 500

วันรับวิสุงคามสีมา
ปี 500

ที่อยู่
วัดสวนหงส์

เลขที่
ุ6

หมู่ที่
8

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
บางปลาม้า

เขต / อำเภอ
บางปลาม้า

จังหวัด
สุพรรณบุรี

ไปรษณีย์
72150

เนื้อที่
๔๗ ไร่ ๐ งาน ๐๖ ตารางวา

Facebook
คลิกดู

มือถือ
0819416517

โทรศัพท์
0898241073

อีเมล์
suanhong01@gmail.com

คุณสมบัติวัด

เป็นวัดประชารัฐสร้างสุข
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น
เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี
เป็นอุทยานการศึกษาในวัด

จำนวนเข้าดู : 2034

ปรับปรุงล่าสุด : 13 กันยายน พ.ศ. 2567 12:36:07

ข้อมูลเมื่อ : 27 กันยายน พ.ศ. 2564 14:48:59

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

ประวัติวัดสวนหงส์
วัดสวนหงส์ ได้เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๓๗๙ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๘ ที่ตั้งเลขที่ ๖ หมู่ ๘ ต.บางปลาม้า เขต ๒ อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี
ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๔๓ ไร่ ๓ งาน ๔๓ ตารางวา มีแม่น้ำวกอ้อมวัดถึง ๓ ทิศ ๓ ด้าน
�ทิศเหนือ� � � � �ติดแม่น้ำท่าจีน
�ทิศใต้� � � � � � �ติดแม่น้ำท่าจีน
�ทิศตะวันออก� �ติดถนนหลวงสาย บางปลาม้า-คอวัง
ทิศตะวันตก� � � ติดแม่น้ำท่าจีน
มีที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๒ แปลง เนื้อที่ ๒๔ ไร่ ๑ งาน ๗๖ ตารางวา
โฉนดที่ดินเลขที่ ๑๒๙๓๐ และ ๑๑๐๔
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถกว้าง ๘.๒๐ เมตร ยาว ๑๒.๔๐ เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ศาลาการเปรียญ ชั้นบนเป็นอาคารไม้ กว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๓๔ เมตร
� � � � � � � � � � � � � �
ชั้นบนแบ่งเป็นกุฏิ ๑๑ ห้อง� ห้องเรียน ๔ ห้อง
� � � � � � � � � � � � � �ชั้นล่าง เป็นอาคารคอนกรีต กว้าง ๒๔ เมตร ยาว ๔๐ เมตร
หอสวดมนต์� � � ��กว้าง� ๑๒.๒๐ เมตร ยาว ๑๘ เมตร เป็นอาคารไม้สักทอง ๒ ชั้น
กุฏิสงฆ์� � � � � � � �จำนวน ๑๔ หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้
อาคารเรียนพระปริยัติธรรม��เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั้น
ฌาปนสถาน (เมรุ)� � � � � � � ��กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๑๖ เมตร
วิหาร-มณฑป� � � � � � � � � � � �กว้าง ๘ เมตร ยาว ๘ เมตร
�มีคนโบราณได้เล่าสืบทอดมาว่ามีเศรษฐีโคกครามสองผัวเมีย ชื่อสวน และหงส์ ได้มีศรัทธาสร้างวัดขึ้นมา
จึงนำชื่อทั้งสองมาตั้งเป็นชื่อวัดขึ้นว่า “วัดสวนหงส์”พระประธานภายในโรงอุโบสถเป็นพระพุทธรูปหินทราย
แกะสลัก ปางมารวิชัย เป็นศิลปะสุโขทัยคาดว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย จึงได้มีการชำรุดไปตามการเวลา
ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ ท่านพระปลัดประสิทธิ์ (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) จึงได้ทำการปฏิสังขรณ์ส่วนที่ชำรุดและได้ทำการ
ลงลักเปิดทองให้มีสภาพสวยงามดังปัจจุบัน สันนิษฐานว่าตั้งวัดก่อน พ.ศ. ๒๓๗๔ อ้างอิงหลักฐานจาก

ในหนังสือ นิราศสุพรรณ ของสุนทรภู่ที่นั่งเรือผ่านหน้าวัดสวนหงส์
บทที่ ๑๑๕ ได้กล่าวถึงวัดสวนหงส์ความว่า
� � � � � � � � � � �สวนหงส์วงศ์วัดพร้อม� � � � � � � � พระเณร
� � � � � � � � � � �รื่นรอบขอบบริเวณ� � � � � � � � � � หว่างบ้าน
� � � � � � � � � � �เด็กเยาว์เล่ากนเกน� � � � � � � � � �ก้องที่� กุฎีแฮ
� � � � � � � � � � �ใช้ที่มีสวนสะอ้าน� � � � � � � � � � � ชื่ออ้างปางหลัง
� � � � � ในปี� พ.ศ.๒๔๕๙��สมเด็จพระมหาสมณเจ้า� กรมพระวชิรญาณวโรรส�
เป็นองค์ตรวจการคณะสงฆ์ได้มาตรวจพื้นที่วัดสวนหงส์ ในขณะนั้น� พระอาจารย์แก้ว� นนฺทโชติ�
เป็นเจ้าอาวาสอยู่� ทรงตรัสชมว่า “วัดสวนหงส์อยู่ในชัยภูมิที่ดี� มีภูมิฐาน� คือ มีต้นไม้ใหญ่ ๆ มาก
และมีแม่น้ำวกอ้อมวัดถึง ๓ ทิศ� ๓ ด้าน”� ความนี้เป็นเฉพาะฤดูร้อนเท่านั้น�
ตามปกติช่วงฤดูฝนน้ำหลากจะเป็นที่น้ำท่วมถึง จึงเป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ไม่สามารถสร้างถาวรวัตถุได้�
แต่ด้วยความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน� ได้บริจาคบ้านเรือนของผู้ที่ล่วงลับไปแล้วให้กับวัดมากมาย�
ถึงกระนั้นก็ยังไม่สามารถสร้างถาวรวัตถุ และถาวรสถานได้อยู่ดี� แต่ด้วยความคิดของเจ้าอาวาสองค์ก่อน ๆ มา�
ได้พัฒนาปรับปรุง โดยเอาไม้ใหญ่ภายในวัดที่กีดขวางมา� ช่วยในการสร้างศาลาการเปรียญและกุฏิขึ้นโดยจัดสร้างศาลาทรงสูง�
คือด้านล่างปล่อยว่างไว้� สำหรับหน้าน้ำ ส่วนชั้นบนเป็นที่อาศัยจำวัดของพระภิกษุ�
และต่อมาได้มีการถมที่ภายในวัดทำพื้นที่ลุ่มในอดีตให้เป็นพื้นที่น้ำท่วมไม่ถึงในปัจจุบัน�
และได้จัดตั้งโครงการสวนป่าขึ้นมา� เพื่อก่อให้เกิดความร่มรื่นและสวยงามตามแบบของวัด�
เมื่อครั้งอดีต เนื่องจากวัดสวนหงส์เป็นวัดที่สำคัญ เพราะตั้งอยู่หน้าที่ว่าการอำเภอบางปลาม้า
และในช่วงปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ขาดเจ้าอาวาสปกครองดูแล ในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๑�
ท่านเจ้าคุณ พระวิกรมมุนี จึงได้แต่งตั้งให้พระมหาปลื้ม จิตฺตสญฺญโต มาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดสวนหงส์�
และยังดำรงตำแหน่งเจ้าคณะตำบลโคกครามอีกด้วย
� � � � �ในอดีตนั้น บริเวณวัดสวนหงส์มีภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มเมื่อถึงฤดูฝน น้ำก็จะท่วมถึง�
หลวงพ่อได้ทำการถมดินบริเวณวัด ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ ๔๙ ไร่เศษให้เป็นที่ดอน
พร้อมกับปลูกต้นไม้ให้มีความร่มรื่นเท่าบริเวณวัด พร้อมกันนี้ยังได้ทำการบูรณะซ่อมแซมกุฏิ
เสนาสนะ ให้อยู่ในสภาพดีเรียบร้อย
� � � � � เนื่องจากวัดสวนหงส์มีแม่น้ำล้อมทั้ง ๓ ด้าน หลวงพ่อจึงได้ผลักดันให้มีประเพณีแข่งเรือ
ด้วยความร่วมมือของชมชนอำเภอบางปลาม้า เทศบาลอำเภอบางปลาม้า และหน่วยงานต่าง ๆ
ในปี พ.ศ.๒๕๔๒ จึงได้มีการจัดการแข่งขันเรือยาวประเพณี ชิงถ้วย พระราชทาน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จนกระทั้งในปี พ.ศ.๒๕๕๕
ก็ได้จัดให้มีการชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช
ทั้งนี้ประเพณีดังกล่าวจะจัดขึ้นในช่วง เดือนพฤศจิกายน เป็นประจำทุกปี
นับเป็นการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณี และส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในท้องถิ่นอีกด้วย
ทำเนียบเจ้าอาวาส
วัดสวนหงส์ มีเจ้าอาวาสปกครอง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามที่ได้มีบันทึกไว้ โดยลำดับดังต่อไปนี้
� � � �พระอธิการแก้ว� ฉายา� นนฺทโชติ
� � � �ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ในปี� �พ.ศ. ๒๔๔๙ ถึง ๒๔๖๙
� � � �พระครูแก้ว� � � � ฉายา� อิสฺสโร
� � � �ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ในปี� �พ.ศ. ๒๔๖๙ ถึง ๒๔๘๙
� � � �พระครูพิทักษ์ธรรมคุณ� �ฉายา� พุทฺธปาโล
� � � �ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ในปี� �พ.ศ. ๒๔๘๙ ถึง ๒๔๙๑
� � � �พระครูสมนคณารักษ์ ( หลวงพ่อปลื้ม )� ฉายา� จิตฺตสญฺญโต
� � � �ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ในปี� �พ.ศ. ๒๔๙๑ ถึง ๒๕๔๕
� � � �พระครูโกศลธรรมานุสิฐ (ประสิทธ์)� �ฉายา� อโสโก
� � � �ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ในปี� �พ.ศ. ๒๕๔๕ ถึง ปัจจุบัน


รางวัลที่เคยได้รับ��- อุทยานการศึกษาในวัด ปี ๒๕๖๒
วัดสวนหงส์ ถือได้ว่าเป็นสถานที่ ซึ่งมีความสำคัญต่อการให้การศึกษาทั้งสำหรับฆราวาส และบรรพชิต
ตั้งแต่อดีตมา ในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ (ตามบันทึกของตรวจการณ์คณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๑๗) พระครูปลัดปิ่น
ได้ตั้งโรงเรียนขึ้นในวัดสวนหงส์ นับตั้งแต่นั้นมาอดีตเจ้าอาวาสทุกรูปก็ได้ให้การส่งเสริม
สนับสนุนเกี่ยวกับการศึกษาสืบทอดเรื่อยมา จนกระทั้งมีการเปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม
แผนกธรรม พ.ศ. ๒๔๙๑ สมัยของ พระครูสุมนคณารักษ์ ต่อมาหลวงพ่อได้มีการปรารภที่จะเปิด
การเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลีด้วย โดยในสมัยนั้นท่านเป็นผู้สอนด้วยตนเอง
แต่เนื่องจากขาดบุคลากร และด้วยอายุสังขารที่อยู่ในช่วงปลาย รวมทั้งอาการอาพาธของท่าน
ทำให้ไม่ประสบผลตามที่มุ่งหวัง ถึงกระนั้นก่อนที่ท่านจะละสังขาร ท่านก็ได้กล่าวไว้ว่า�
“ต่อไปในอนาคต วัดสวนหงส์ จะเต็มไปด้วยมหาเปรียญ” หลังจากท่านมรณภาพได้ ๑ ปี
เพื่อเป็นการสืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
(พระครูโกศลธรรมานุสิฐ) จึงได้เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี โดยได้ปรึกษากับ
พระมหาบุญงาม ฐานทตฺโต ป.ธ.๗ เป็นผู้ประสานงานเกี่ยวกับการจัดหาครูอาจารย์ ที่จะมาทำการสอน
จากนั้นจึงได้เชิญ พระมหาธรรมนูญ วชิราโณ ป.ธ.๙ มาเป็นอาจารย์ใหญ่� เริ่มจากที่ไม่มีครูอาจารย์สอน
ไม่มีผู้เรียน ไม่มีแม้กระทั้งอาคารสถานที่สำหรับสอน ซึ่งในยุคแรกเปิดสำนักได้มีการจัดการเรียนการสอน
ในโรงลิเกเก่า และอาคารมุงจาก (ปัจจุบันได้ถูกรื้อถอน) ด้วยความมุ่งมั่น ศรัทธาของท่าน และครู อาจารย์
ก็ได้มีการพัฒนาการเรียนสอน จนนักเรียนมีผลการเรียนที่ดีโดยลำดับ��
โดยมีนักเรียนสอบผ่านพระปริยัติธรรม
แผนกบาลี รวมทุกประโยค เป็นอันดับ ๑ ของจังหวัดสุพรรณบุรีถึง ๘ ปีติดกัน (ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๖)�
จนในปี พ.ศ.๒๕๕๐ จึงได้มีการสร้างอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั้น เพื่อรองรับจำนวนผู้เรียนที่มีเพิ่มมากขึ้น
จนกระทั้งได้รับการประกาศให้จัดตั้งเป็น “โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ ๒”
จากมติมหาเถรสมคม เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕

เจ้าสำนักเรียน
พระครูโกศลธรรมานุสิฐ , ดร. (ประสิทธิ์� อโสโก)
ทำเนียบอาจารย์ใหญ่
รูปที่ ๑� พระมหาธรรมนูญ ฐานทตฺโต� � �ป.ธ.๙�� � � � � � � �พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๔๘
รูปที่ ๒� พระมหาสนั่น ยสชาโต� � � � � � �ป.ธ.๙� � � � � � � � พ.ศ.๒๕๔๙-๒๕๕๓
รูปที่ ๓� พระมหาบุญธรรม ปุญฺญธมฺโม� �ป.ธ.๙� � � � � � � � พ.ศ.๒๕๕๔
รูปที่ ๔� พระมหาพลากร วชิญาโณ� � � � ป.ธ.๘ คบ.� � � � �พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๖๑
รูปที่ ๕� พระมหาพงษ์ศักดิ์ รตนญาโณ� �ป.ธ.๗ พธ.ม.� � �พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๒
รูปที่ ๖� พระมหาจตุพล ญาณธีโร� � � � � �ป.ธ.๙ พธ.ม.� � �พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๓
รูปที่ ๗� พระมหาสุนทร สุนฺทรเมธี� � � � � ป.ธ.๘� � � � � � � �พ.ศ.๒๕๖๓-ปัจจุบัน

สำนักเรียนพระปริยัติธรรม
วัดสวนหงส์ ถือได้ว่าเป็นสถานที่ ซึ่งมีความสำคัญต่อการให้การศึกษาทั้งสำหรับฆราวาส และบรรพชิต
ตั้งแต่อดีตมา ในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ (ตามบันทึกของตรวจการณ์คณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๑๗) พระครูปลัดปิ่น
ได้ตั้งโรงเรียนขึ้นในวัดสวนหงส์ นับตั้งแต่นั้นมาอดีตเจ้าอาวาสทุกรูปก็ได้ให้การส่งเสริม
สนับสนุนเกี่ยวกับการศึกษาสืบทอดเรื่อยมา จนกระทั้งมีการเปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม
แผนกธรรม พ.ศ. ๒๔๙๑ สมัยของ พระครูสุมนคณารักษ์ และเพื่อเป็นการสานต่อเจตนารมณ์ของ
หลวงพ่อที่เคยกล่าวไว้ว่า “ต่อไปในอนาคต วัดสวนหงส์ จะเต็มไปด้วยมหาเปรียญ”
พระครูโกศลธรรมานุสิฐ จึงได้เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีขี้นในวัด
เริ่มจากที่ไม่มีครูอาจารย์สอน ไม่มีผู้เรียน ไม่มีแม้กระทั้งอาคารสถานที่สำหรับสอน
ซึ่งในยุคแรกเปิดสำนักได้มีการจัดการเรียนการสอนในโรงลิเกเก่า และอาคารมุงจาก
พัฒนาเรื่อยมาจนต่อมาได้รับการประกาศให้จัดตั้งเป็น
“โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ ๒”
จากมติมหาเถรสมคม เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ มีการจัดการเรียนการสอนแผนกธรรม
ตั้งแต่นักธรรมชั้นตรีถึงนักธรรมชั้นเอก และเปรียญธรรมตั้งแต่ระดับ เปรียญธรรมประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค
รางวัลที่เคยได้รับ
�- สำนักศาสนศึกษาดีเด่น หนกลาง ๙ ปี
(๒๕๕๒, ๒๕๕๔, ๒๕๕๘, ๒๕๕๙, ๒๕๖๐, ๒๕๖๑, ๒๕๖๒, ๒๕๖๒, ๒๕๖๓)

ผลรวมสถิติสอบบาลีสนามหลวง ปี ๒๕๔๗-๒๕๖๓
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจำจังหวัดสุพรรณบุรี แห่งที่ ๒
วัดสวนหงส์ ต.บางปลาม้า อ. บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี

ชั้น ส่งสอบ สอบได้ สอบตก
ประโยค ๑-๒ ๒๙๘ ๑๔๓ ๑๕๕
ป.ธ.๓ ๑๓๓ ๑๒๐ ๓๑
ป.ธ.๔ ๗๖ ๕๕ ๒๑
ป.ธ.๕ ๔๔ ๓๕
ป.ธ.๖ ๔๐ ๒๒ ๑๘
ป.ธ.๗ ๓๖ ๑๖ ๒๐
ป.ธ.๘ ๓๘ ๓๔
ป.ธ.๙
รวม ๖๗๔ ๓๙๗ ๒๙๕
�ผู้สอบได้ ๕๘.๙๐ %
��

เอกสารเกี่ยวกับวัด 1 : (1.64 mb)

แผนที่ภาพ

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระครูโกศลธรรมานุสิฐ อโสโก

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 04-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 18-04-2566

พระมหาลิขิต ชยวิญฺญู

ข้อมูลเมื่อ : 07-10-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 26-06-2567

พระมหาอนุรุทธ อภิชาโน

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 03-08-2567

พระมหาบรรจง ปญฺญาวชิโร

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 22-06-2567

พระมหาอิศวรา วีรวํโส

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

พระมหานันทวัฒน์ เขมวฑฺฒโน

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 28-07-2566

พระมหาอมรเทพ สุทฺธิโอภาโส

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

พระภานุพันธ์ สนฺติกโร

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

พระธีรวัจน์ จิตฺตปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

พระมหาธนูศิลป์ รวิวณฺโณ

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 22-06-2567

สามเณรไชยโรจน์ ละครศรี

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

พระมหาชัยธวัช ชยธโช

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 23-06-2567

พระมหาพงษ์ศักดิ์ สาธุวิหารี

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 22-06-2567

สามเณรอรรถพันธ์ อุสาหะ

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 23-06-2567

สามเณรธันวา จำปาจันทร์

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 23-06-2567

สามเณรธนกร แซ่ตั้ง

ข้อมูลเมื่อ : 31-01-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

สามเณรนพชัย จันทร์ทอง

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

สามเณรจักรรินทร์ บุระเนตร

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 31-01-2565

สามเณรสมรักษ์ ดิษกุล

ข้อมูลเมื่อ : 21-02-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 25-07-2566

สามเณรเตชธรรม คำสุนี

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรสมคิด ภักดียา

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรสุภวัทน์ สระหงส์ทอง

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรจิตวัต เพ็ญคาสุคันโธ

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรจิตรวิสุทธิ์ เจน

ข้อมูลเมื่อ : 21-02-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรจิรวัสส์ ขยันดี

ข้อมูลเมื่อ : 21-02-2565

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรวานุวัฒน์ แก้ววงษา

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

สามเณรสุวรรณภูมิ ชัยยะ

ข้อมูลเมื่อ : 25-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 21-02-2565

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

เทศกาลงานบุญประเพณี

#วันครอบครัวไทย...

วันที่จัดงาน : 12-04-2565

เปิดดู 127 ครั้ง

#วันผู้สูงอายุแ...

วันที่จัดงาน : 12-04-2565

เปิดดู 117 ครั้ง

อำเภอบางปลาม้า ...

วันที่จัดงาน : 14-11-2563

เปิดดู 270 ครั้ง

ปูชนียวัตถุสถาน

๑.หลวงพ่อพระประ...

ข้อมูลเมื่อ : 21-02-2565

เปิดดู 367 ครั้ง

พระมณฑปจัตุรมุข

ข้อมูลเมื่อ : 24-02-2565

เปิดดู 264 ครั้ง

๓.​รูปหล่...

ข้อมูลเมื่อ : 24-02-2565

เปิดดู 473 ครั้ง

๒.หลวงพ่อรอด(เส...

ข้อมูลเมื่อ : 24-02-2565

เปิดดู 2915 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

โอวาทพระเดชพระค...

ข้อมูลเมื่อ 09-03-2565

เปิดดู 123 ครั้ง

รายการเปิดบันทึ...

ข้อมูลเมื่อ 23-02-2565

เปิดดู 184 ครั้ง

สาระธรรม

วันมาฆบูชา

ข้อมูลเมื่อ : 21-02-2565

เปิดดู 125 ครั้ง

สื่อมีเดีย

๒ เมษายน พุทธศั...

ข้อมูลเมื่อ : 02-04-2565

เปิดดู 706 ครั้ง

วันเลิกทาส ๑ เม...

ข้อมูลเมื่อ : 02-04-2565

เปิดดู 1810 ครั้ง

ศิลป์ธรรมสื่อมี...

ข้อมูลเมื่อ : 31-03-2565

เปิดดู 112 ครั้ง

ศิลป์ธรรม

ข้อมูลเมื่อ : 23-02-2565

เปิดดู 626 ครั้ง

ทำบุญกับวัด

ยังไม่มีข้อมูลทำบุญกับวัด