เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1451 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
71 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1619 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8467 รูป
สามเณร
321 รูป
แม่ชี
91 รูป
ศิษย์วัด
36 คน
บุคคลทั่วไปชาย
40 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
50 คน
ทั้งหมด
9005 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
41 รูป
สามเณร
28 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
73 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7300 รูป
ลาสิกขา
31 รูป
มรณภาพ
7 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดท่าพูด

รหัสวัด

ชื่อวัด
วัดท่าพูด

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
ปี 500

วันรับวิสุงคามสีมา
ปี 500

ที่อยู่
วัดท่าพูด ต.ไร่ขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม

เลขที่
78

หมู่ที่
9

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
ไร่ขิง

เขต / อำเภอ
สามพราน

จังหวัด
นครปฐม

ไปรษณีย์
73210

เนื้อที่
37 ไร่ 3 งาน 75 ตารางวา

คุณสมบัติวัด

เป็นโรงเรียนการกุศลของวัด
เป็นพิพิธภัณฑ์
เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบล (อปต.)

จำนวนเข้าดู : 1018

ปรับปรุงล่าสุด : 15 กันยายน พ.ศ. 2565 16:02:11

ข้อมูลเมื่อ : 15 กันยายน พ.ศ. 2564 00:00:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

� � � � �วัดท่าพูดตั้งอยู่ที่ตำบลไร่ขิง เลขที่ ๗๘� หมู่ที่ ๙� อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม� สมัยก่อนตำบลไร่ขิงนี้ แต่เดิมมีอยู่ ๒ ตำบล คือ ตำบลไร่ขิง และ ตำบลท่าพูด ต่อมาทางราชการได้รวมเข้าเป็นตำบลเดียวกันในปี พ.ศ.๒๔๖๐ จึงเหลือแค่เพียงตำบลเดียว คือ ตำบลไร่ขิง จึงทำให้ ตำบลไร่ขิง มี ๒ วัด คือ วัดไร่ขิง และ วัดท่าพูด� วัดท่าพูดนี้ พอจะสืบได้ว่า เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงแก่พม่า ประชาชนและพลเมืองชาวกรุงศรีอยุธยา ต้องอพยพครอบครัวลงมาทางใต้เป็นกลุ่ม ซึ่งในจำนวนนี้มีพระราชาคณะร่วมเดินทางมาด้วยรูปหนึ่ง ซึ่งชาวกรุงศรี เรียกท่านว่า พระอาจารย์รด เหตุที่ชาวกรุงศรีหนีมาทางใต้นี้ก็เนื่องจากบริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีน คือตั้งแต่จังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร เป็นดินแดนแห่งความสงบ ซึ่งทัพพม่านั้นไม่ชำนาญการเดินทัพมาทางนี้ เมื่ออพยพมาถึงกลางทุ่งนาแห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ในท้องที่ตำบลกระทุ้มล้ม อ.สามพราน จ.นครปฐม� จึงพร้อมใจกันตั้งหลักฐานบริเวณนั้น และได้ร่วมกันช่วยสร้างสำนักสงฆ์ชั่วคราว เนื่องจากทุ่งนาแห่งนี้ เป็นที่ดอน จึงได้ช่วยกันขุดสระขนาดใหญ่ลูกหนึ่ง สำหรับใช้สอยในดูแห้งแล้ง ที่ตรงนั้น บัดนี้เรียกว่า “หนองรี” ซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นทุ่งนาไปหมดแล้ว
� � � �ในขณะนั้น วัดท่าพูด กำลังจะกลายเป็นวัดร้าง เนื่องจากไม่มีพระภิกษุจำพรรษา ชาวบ้านวัดท่าพูดจึงไปอาราธนามาจำพรรษาที่ วัดท่าพูด พระอาจารย์รดก็รับอาราธนาด้วยความเต็มใจ จึงมาจำพรรษามาอยู่ที่ วัดท่าพูด พร้อมกับประชาชนที่อพยพมาด้วยกัน ทั้งหมดจึงมารวมกันกลุ่มกันและรวมกันปลูกบ้านอาศัยอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน� ในขณะที่พระอาจารย์รดมาอยู่ที่ วัดท่าพูด ปรากฏว่ากุฏิสงฆ์ชำรุดทรุดโทรมอย่างมาก ต้องทำการซ่อมแซมส่วนอุโบสถนั้น มีเถาวัลย์ขึ้นเต็มไปหมด ซึ่งส่อให้เห็นว่า ขาดผู้ปกครองดูแลรักษา� แต่เมื่อสงครามสงบลง หลังจากที่พระเจ้าตากกู้ชาติได้ พระองค์ได้ทรงคิดรวบรวมพระราคณะที่แตกกระจายไปให้กลับมาอยู่พระอารามหลวงในกรุงธนบุรี จึงให้ทหารออกตามหาจนมาพบกับพระอาจารย์รดที่วัดท่าพูด แต่พระอาจารย์รดได้บอกกับเหล่าทหารว่า ให้ไปบอกกับพระเจ้าด้วยว่า จะขอจำพรรษาอยู่ที่นี่ เพราะท่านรับอาราธนาจากชาวบ้านที่นี่ แล้วต้องการเป็นที่พึ่งทางใจแก่ชาวบ้านในยามที่บ้านเมืองกำลังวุ่นวาย เมื่อพระเจ้าตากทรงทราบตามประสงค์ของพระอาจารย์รด จึงได้พระราชทานเรือกัญญา ๒ รำ คานหาม ๑ อัน กระโถนและกาน้ำลายเทพพนม อย่างละ ๑ ชิ้น มาถวายเป็นเครื่องประดับเกียรติยศ
��������� ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับการสร้างวัดท่าพูด คือ อุโบสถที่พระอาจารย์รดมาพบครั้งแรกนั้น อาจจะเป็นหลังที่ ๒ ก็ได้ ทั้งนี้มีข้อสันนิษฐานว่า ตามริมแนวฝั่งแม่น้ำวัด ซึ่งห่างออกไปประมาณ ๓๐ เมตร ท่านผู้เฒ่าเล่าว่า มีรากฐานเจดีย์ และรากฐานการปลูกสร้างอยู่เป็นจำนวนมากและตรงบริเวณนั้นก็เป็นที่ดินดอนกว่าที่อื่น� แต่บัดนี้ได้พังลงทลายหมดแล้วซึ่งน่าจะเกิดจากที่ตลิ่งพัง จึงได้ย้ายมาสร้างหลังใหม่ที่พระอาจารย์รดมาอยู่ และยังมีข้อสันนิษฐานว่า หากบริเวณตรงที่ปลูกสร้างโรงลิเกหน้าอุโบสถหลังเดิมจริงเข้าใจว่าอิฐที่ใช้ในการก่อสร้างชาวบ้านคงจะทำและเผากันเอง เพราะบริเวณตรงที่ปลูกโรงลิเกเมื่อก่อนมีสระใหญ่อยู่สระหนึ่ง ชาวบ้านเรียกว่า� สระบัว จึงเข้าใจว่าชาวบ้านคงจะขุดดินตรงนี้เอาไปปั้นเป็นอิฐก่อสร้างอุโบสถ��
- ลำดับเจ้าอาวาส
๑. หลวงพ่อรด
๒. หลวงพ่อเทศ�
๓. หลวงพ่อมาก�
๔.�หลวงพ่อจ้อย
๕. หลวงพ่อแก้ว
๖. หลวงพ่อชื่น
๗. พระอธการเเช่ม
๘.�พระปลัดผล�
๙. พระอาจารย์โรย�
๑๐.�พระครูพิศาลสาธุวัฒน์� (หลวงพ่อโหย)� �
๑๑. พระครูวรดิตถานุยุต (รูปปัจจุบัน)





แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระครูวรดิตถานุยุต (สังเวย) คเวสโก

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 01-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 19-10-2565

พระสุพจน์ ชาตวํโส

ข้อมูลเมื่อ : 10-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระประกิต กตธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระประยุทธ ปยุตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระธรรมรงค์ อชิโต

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระใบฎีกาอรรถพล พลสีโล

ข้อมูลเมื่อ : 25-09-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-09-2565

พระสุเชาว์ ปญฺญาทีโป

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระสุวัฒน์ ฐานวโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระนุสิทธ์ สนฺตจิตฺโต

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระสมพงษ์ กตปุญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระสอาด ปุญฺญสุทฺโธ

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระกฤษณะ ฐานกโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระนาถวัฒน์ ปภาโส

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระวิษณุกร ติสฺสโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระสุทธิศักดิ์ ปรกฺกโม

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระดำรงค์ ฉนฺทวีโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระสัมฤทธิ์ ถิรปสาโท

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระเกรียงกรัย ถิรธมฺโม

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระนรินทร์ จกฺกวโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระณัฏฐชัย ปิยสีโล

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระเวทิศ ฐานวีโร

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระรัชกร เมธิโก

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 10-01-2565

พระกิตติ กิตฺติโก

ข้อมูลเมื่อ : 25-03-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 25-03-2566

พระเรืองยศ วรปญฺโญ

ข้อมูลเมื่อ : 09-03-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 25-03-2566

พระนพกร ธมฺมวโร

ข้อมูลเมื่อ : 09-03-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 09-03-2566

พระณัฐภพ สิริภทฺโท

ข้อมูลเมื่อ : 09-03-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 25-03-2566

พระวัชรินทร์ อะิวโร

ข้อมูลเมื่อ : 29-04-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 29-04-2566

พระกฤษดา สจฺจวโร

ข้อมูลเมื่อ : 04-05-2566

ปรับปรุงล่าสุด : 04-05-2566

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

วันวิสาขบูชา

ข้อมูลเมื่อ : 22-05-2566

เปิดดู 3 ครั้ง

กฐินสามัคคี วันอาทิตย์ ที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 441 ครั้ง

วันออกพรรษา วันที่ ๙ - ๑๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๕

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 687 ครั้ง

วันสารทไทย ๒๔ - ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๕

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 64 ครั้ง

กฐินสามัคคี พ.ศ..๒๕๖๔

ข้อมูลเมื่อ : 11-10-2564

เปิดดู 1684 ครั้ง

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

พิพิธภัณฑืพื้นบ...

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 51 ครั้ง

พระจุฬามณีเจดีย...

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 75 ครั้ง

วิหาร

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 261 ครั้ง

หลวงพ่อวัดท่าพู...

ข้อมูลเมื่อ : 15-09-2565

เปิดดู 102 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด