เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8343 รูป
สามเณร
284 รูป
แม่ชี
87 รูป
ศิษย์วัด
36 คน
บุคคลทั่วไปชาย
41 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
53 คน
ทั้งหมด
8844 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
41 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
70 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7162 รูป
ลาสิกขา
38 รูป
มรณภาพ
11 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดท่ามะกรูด

รหัสวัด
02720807003

ชื่อวัด
วัดท่ามะกรูด

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม ปี 2470

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 12 เดือน มีนาคม ปี 2508

ที่อยู่
บ้านท่ามะกรูด

เลขที่
49/2

หมู่ที่
3

ซอย
-

ถนน
-

แขวง / ตำบล
กระเสียว

เขต / อำเภอ
สามชุก

จังหวัด
สุพรรณบุรี

ไปรษณีย์
72130

เนื้อที่
18 ไร่ 1 งาน 98 ตารางวา

มือถือ
081-192-4766

จำนวนเข้าดู : 706

ปรับปรุงล่าสุด : 12 มีนาคม พ.ศ. 2565 15:02:18

ข้อมูลเมื่อ : 26 กันยายน พ.ศ. 2564 18:58:14

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

� � � � � � � � � ��ประวัติวัดท่ามะกรูด
วัดท่ามะกรูด ตั้งอยู่เลขที่ ๔๙/๒ หมู่ที่ ๓ ตำบลกระเสียว อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๑๘ ไร่ ๑ งาน ๙๘ ตารางวา
อาณาเขต
ทิศเหนือ ������������������������������������� ��������� จรดคลองท่ามะกรูด
ทิศใต้ ������������������������������� ��������� จรดที่นาเอกชน
ทิศตะวันออก ������������� ������������������ จรดทางหลวงชนบท
ทิศตะวันตก ������������������������ ��������� จรดลำรางสาธารณะ
อาคารเสนาสนะประกอบด้วย
อุโบสถ.สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๘
กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร
ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕
กว้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๒ เมตร
โรงครัว เป็นอาคารทรงไทย สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๐
กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร
ศาลาเมรุ
กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๖ เมตร
หอสวดมนต์ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๙
กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๓๐ เมตร
กุฏิ เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๙
กว้าง ๓ เมตร ยาว ๓ เมตร จำนวน ๑๒ ห้อง
ศาลาอเนกประสงค์
กว้าง ๑๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร
ห้องน้ำบนศาลาการเปรียญสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔
กว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๐ เมตร
ห้องน้ำบริเวณลานวัด ๖ ห้อง
กว้าง ๔ เมตร ยาว ๑๔ เมตร
หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๙
หอกลอง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๙
ซุ้มประตูทางเข้าวัดทิศตะวันออก สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐
กว้าง ๖ เมตร สูง ๑๒ เมตร
กำแพงวัดทิศตะวันออก-ทิศเหนือ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐
จำนวน ๘๐ ช่อง
ซุ้มประตูทางเข้าทิศเหนือ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๖
กว้าง ๗ เมตร สูง ๑๒ เมตร
กำแพงวัดทิศเหนือ-ทิศตะวันตก สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๗
จำนวน ๖๗ ช่อง
วิหารหลวงพ่อทองคำ พระครูวิจิตร พลเสโน สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๓
กว้าง ๖ เมตร ยาว ๙ เมตร
ปูชนียวัตถุ
หลวงพ่อทองคำ (หลวงพ่อดำ) เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยอู่ทอง หน้าตักกว้าง ๒๕ นิ้ว สูง ๓๒ นิ้ว เนื้อดินเผา ได้อัญเชิญมาจากวัดอื่นเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๕
วัดท่ามะกรูด ตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ โดยนายกล่อมได้สร้างที่พักสงฆ์ขึ้น ต่อมา พ.ศ. ๒๕๐๐ นายพลับ น้ำแก้ว และอาจารย์ทอง ช่องสกุล ได้เริ่มก่อสร้างอุโบสถโดยมี เจ้าอธิการโน้ม กิตฺติภทฺโท พร้อมชาวบ้านได้ร่วมกันก่อสร้างอุโบสถ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๘� และจัดงานผูกพัทธสีมาเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๑ จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๒๔ พระครูวิจิตร พลเสโน ได้มาบูรณะพัฒนาวัด และได้สร้างกุฏิหอสวดมนต์ใหม่ สร้างซุ้มประตูและกำแพงวัดทิศตะวันออก สร้างเมรุ สร้างหอระฆัง - หอกลอง เทพื้นลานปูนตากข้าว สร้างโรงสีข้าว สร้างอาคารเรียนโรงเรียนวัดท่ามะกรูด และเริ่มบูรณะศาลาการเปรียญ จนถึงเมื่อวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ ก็มรณภาพ ต่อมาพระอธิการ อำนาจ กตสาโร เป็นเจ้าอาวาสรูปต่อมาก็บูรณะศาลาการเปรียญจนเสร็จ และสร้างโรงครัว ๑ หลัง ห้องน้ำ ๑หลัง จำนวน ๖ ห้อง ย้ายศาลากองอำนวยการและได้ลาสิกขาเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๐ จากนั้นพระอธิการพิทยา อนาลโย มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ตีฝ้ากุฎิ ปูกระเบื้องพื้นกุฎิ สร้างศาลาเมรุ ๑ หลัง �ปูพื้นกระเบื้องและตีฝ้าเมรุ� ทาสีกำแพงและซุ้มประตูด้านตะวันออก ทาสีหอระฆัง หอกลอง เปลี่ยนผนังศาลาการเปรียญ สร้างห้องน้ำหลังศาลาการเปรียญ ๑ หลัง ๘ ห้อง มรณภาพเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๕ จากนั้นพระอธิการอนิรุทธิ์ อนุรทฺโธ เป็นเจ้าอาวาสได้สร้างซุ้มประตู สร้างกำแพงด้านทิศเหนือจรดทิศตะวันตก �บูรณะอุโบสถ
ปี ๒๕๖๓ สร้างวิหารหลวงพ่อทองคำ
การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ
๑ พระทอง
๒ พระสนิท
๓ เจ้าอธิการโน้ม� กิตฺติภทฺโท เจ้าอาวาส , เจ้าคณะตำบลกระเสียว
๔ พระจำรัส
๕ พระครูใบฏีกาผัน โสตฺถิโก
๖ พระครูวิจิตร พลเสโน พ.ศ. ๒๕๒๘-๒๕๔๖
๗ พระอธิการอำนาจ กตสาโร พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๐
๘ พระอธิการพิทยา อนาลโย พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๕๕
๙ พระปลัดอนิรุทธิ์ อนุรุทโธ พ.ศ.๒๕๕๖ – ปัจจุบัน

แผนที่ภาพ

แผนที่ Google Map

Google Map Link
กดดู

รายการพระ

พระปลัดอนิรุทธิ์ อนุรุทฺโธ

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 04-10-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 05-05-2566

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

ปฏิทินประจำปี

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 77 ครั้ง

เจริณพระพุทธมนต์

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 91 ครั้ง

บูชาสักการะ ขอพร หลวงพ่อทองคำ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 100 ครั้ง

เทศกาลงานบุญประเพณี

ทำบุญวันมาฆบูชา

วันที่จัดงาน : 16-02-2565

เปิดดู 68 ครั้ง

ปูชนียวัตถุสถาน

อุโบสถ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 115 ครั้ง

หอระฆัง

ข้อมูลเมื่อ : 04-10-2564

เปิดดู 160 ครั้ง

วิหารหลวงพ่อทอง...

ข้อมูลเมื่อ : 04-10-2564

เปิดดู 96 ครั้ง

วีดีโอพระพุทธศาสนา

วีดีโอวัดท่ามะก...

ข้อมูลเมื่อ 07-03-2565

เปิดดู 111 ครั้ง

สาระธรรม

ต้นไม้พูดได้

ข้อมูลเมื่อ : 18-03-2565

เปิดดู 350 ครั้ง

ต้นไม้พูดได้

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 165 ครั้ง

สื่อมีเดีย

คติธรรมเตือนใจ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

เปิดดู 743 ครั้ง

สำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

หลวงพ่อทองคำ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

พระประธานประจำอุโบสถ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

โครงการและกิจกรรมเด่น

โครงการวัดปลอดโควิด

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

โครงการแจกน้ำช่วยภัยแล้ง

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

หมู่บ้านรักษาศิล ๕

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

วัดประชารัฐ

ข้อมูลเมื่อ : 07-03-2565

ทำบุญกับวัด

ยังไม่มีข้อมูลทำบุญกับวัด