



วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1454 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1623 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8177 รูป
สามเณร
293 รูป
แม่ชี
86 รูป
ศิษย์วัด
38 คน
บุคคลทั่วไปชาย
41 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
52 คน
ทั้งหมด
8687 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
46 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
75 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7065 รูป
ลาสิกขา
40 รูป
มรณภาพ
9 รูป
ข้อมูลทั่วไป
QR Code วัดวังพลับเหนือ
รหัสวัด
02720503002
ชื่อวัด
วัดวังพลับเหนือ
นิกาย
มหานิกาย
ประเภทวัด
วัดราษฎร์
วันตั้งวัด
ปี 2420
วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 23 เดือน กุมภาพันธ์ ปี 2542
ที่อยู่
-
เลขที่
๓๑
หมู่ที่
๕
ซอย
-
ถนน
-
แขวง / ตำบล
มดแดง
เขต / อำเภอ
ศรีประจันต์
จังหวัด
สุพรรณบุรี
ไปรษณีย์
72140
เนื้อที่
10 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา
จำนวนเข้าดู : 1797
ปรับปรุงล่าสุด : 22 มีนาคม พ.ศ. 2565 20:06:14
ข้อมูลเมื่อ : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 10:03:25
ประวัติความเป็นมา
ประวัติวัดวังพลับเหนือ
เลขที่ ๓๑ หมู่ที่ ๕ ตำบลมดแดง อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดราษฎร์ คณะสงฆ์มหานิกาย เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลมดแดง อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ภาค ๑๔
วัดตั้งอยู่บริเวณส่วนโค้งของบึงน้ำ ซึ่งเป็นลำน้ำโบราณสายเดียวกับบึงละหาร ต่อมามีสภาพตื้นเขินขาดตอน
กลายสภาพเป็นลำน้ำด้วน(บึง) เรียกว่า "บึงวังพลับ" เคยพบลูกปัดหินสี พระบูชาพระพิมพ์ศิลปะสมัยลพบุรี ซาก
โบราณสถาน(วัดร้าง)สันนิษฐานว่ามีอายุสมัยอยุธยา บ่งบอกถึงความเป็นชุมซนมาแต่โบราณ
จากบันทึกเอกสารและคำบอกเล่าในอดีตชื่อ "บางพลับ" ด้วยมีต้นมะพลับขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ลักษณะ
ชุมชนตั้งอยู่บริเวณลำน้ำ เมื่อขยายตัวจึงถือเอาวังน้ำ "วังพลับ" เป็นเกณฑ์ ชุมชนบริเวณส่วนเหนือลำน้ำเรียกว่า
"วังพลับเหนือ" ส่วนใต้เรียกว่า "วังพลับใต้"
หมู่บ้านวังพลับเหนือแรกเริ่มตั้งชุมชนมีบ้านเรือนราว ๒ㆍ หลังคาเรือน เมื่อจะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
แต่ละครั้งต้องเดินทางไปยังวัดเสาธงทองซึ่งอยู่ห่างไปทางตะวันออกราว กิโลเมตร การคมนาคมสมัยนั้นเต็มไป
ด้วยความยากลำบาก ชาวบ้านจึงร่วมกันสร้างวัดในชุมชนและตั้งชื่อตามหมู่บ้านว่า "วัดวังพลับเหนือ"
ปัจจุบันมีพื้นที่จำนวน ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๔๑ ตารางว่า ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒o ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐
เลขที่ ๓๑ หมู่ที่ ๕ ตำบลมดแดง อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี
วัดราษฎร์ คณะสงฆ์มหานิกาย เขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลมดแดง อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ภาค ๑๔
วัดตั้งอยู่บริเวณส่วนโค้งของบึงน้ำ ซึ่งเป็นลำน้ำโบราณสายเดียวกับบึงละหาร ต่อมามีสภาพตื้นเขินขาดตอน
กลายสภาพเป็นลำน้ำด้วน(บึง) เรียกว่า "บึงวังพลับ" เคยพบลูกปัดหินสี พระบูชาพระพิมพ์ศิลปะสมัยลพบุรี ซาก
โบราณสถาน(วัดร้าง)สันนิษฐานว่ามีอายุสมัยอยุธยา บ่งบอกถึงความเป็นชุมซนมาแต่โบราณ
จากบันทึกเอกสารและคำบอกเล่าในอดีตชื่อ "บางพลับ" ด้วยมีต้นมะพลับขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก ลักษณะ
ชุมชนตั้งอยู่บริเวณลำน้ำ เมื่อขยายตัวจึงถือเอาวังน้ำ "วังพลับ" เป็นเกณฑ์ ชุมชนบริเวณส่วนเหนือลำน้ำเรียกว่า
"วังพลับเหนือ" ส่วนใต้เรียกว่า "วังพลับใต้"
หมู่บ้านวังพลับเหนือแรกเริ่มตั้งชุมชนมีบ้านเรือนราว ๒ㆍ หลังคาเรือน เมื่อจะประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
แต่ละครั้งต้องเดินทางไปยังวัดเสาธงทองซึ่งอยู่ห่างไปทางตะวันออกราว กิโลเมตร การคมนาคมสมัยนั้นเต็มไป
ด้วยความยากลำบาก ชาวบ้านจึงร่วมกันสร้างวัดในชุมชนและตั้งชื่อตามหมู่บ้านว่า "วัดวังพลับเหนือ"
ปัจจุบันมีพื้นที่จำนวน ๑๐ ไร่ ๓ งาน ๔๑ ตารางว่า ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒o ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐
ลำดับเจ้าอาวาส รักษาการแทนเจ้าอาวาส (เท่าที่ทราบ)
๑. หลวงปู่แจ้ง
๒. พระอาจารย์เปี่ยม
๓. พระอาจารย์เนต
๔. พระอาจารย์ฉ่ำ
๕.พระอาจารย์ไปล่
๖. พระอาจารย์เสงี่ยม
๗. พระอาจารย์ไหล
๘. พระอธิการล่า
๙. พระอาจารย์พูล
๑๐. พระอธิการเลี่ยม ผาสุโภ
๑๑. พระอาจารย์เผือด
๑๒. พระอธิการประทิน ฐิตธมฺโม
๑๓. พระอาจารย์ทิพ
๑๔. พระครูเกษมวรการ(ทองพูล นราสโภ) พ.ศ. ๒๕๓๘ - พ.ศ.๒๕๖๓
๑๕.พระครูวินัยธรครรชิต ปญฺญาวโร วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๔ - จนถึงปัจจุบัน
๑. หลวงปู่แจ้ง
๒. พระอาจารย์เปี่ยม
๓. พระอาจารย์เนต
๔. พระอาจารย์ฉ่ำ
๕.พระอาจารย์ไปล่
๖. พระอาจารย์เสงี่ยม
๗. พระอาจารย์ไหล
๘. พระอธิการล่า
๙. พระอาจารย์พูล
๑๐. พระอธิการเลี่ยม ผาสุโภ
๑๑. พระอาจารย์เผือด
๑๒. พระอธิการประทิน ฐิตธมฺโม
๑๓. พระอาจารย์ทิพ
๑๔. พระครูเกษมวรการ(ทองพูล นราสโภ) พ.ศ. ๒๕๓๘ - พ.ศ.๒๕๖๓
๑๕.พระครูวินัยธรครรชิต ปญฺญาวโร วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๔ - จนถึงปัจจุบัน
แผนที่ Google Map
Google Map Link
กดดู
รายการพระ
พระครูวินัยธรครรชิต ปญฺญาวโร
ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส
ข้อมูลเมื่อ : 09-10-2564
ปรับปรุงล่าสุด : 05-05-2565
ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด
เทศกาลงานบุญประเพณี
ปูชนียวัตถุสถาน
วีดีโอพระพุทธศาสนา
สาระธรรม
สื่อมีเดีย
สำนักปฏิบัติธรรม
สวดมนต์ ปฏิบัติธรรม
ข้อมูลเมื่อ : 21-03-2565
ทรัพย์สินของวัด
พระปาลิไลย์ (หลวงพ่อวัดป่า)
ข้อมูลเมื่อ : 21-03-2565
โครงการและกิจกรรมเด่น
พระและชาวบ้านช่วยกันปลูกต้นไม้
ข้อมูลเมื่อ : 21-03-2565
ทำบุญกับวัด
ยังไม่มีข้อมูลทำบุญกับวัด