เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8344 รูป
สามเณร
302 รูป
แม่ชี
89 รูป
ศิษย์วัด
33 คน
บุคคลทั่วไปชาย
39 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
52 คน
ทั้งหมด
8859 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
40 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
69 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7192 รูป
ลาสิกขา
34 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ปูชนียวัตถุสถาน

หลวงพ่อพักตร์

รายละเอียด

ประวัติหลวงพ่อพักตร์

ประวัติความเป็นมา


      พระพุทธรูปหลวงพ่อพักตร์มีอยู่ว่า เดิมมีแต่ศีรษะเป็นหินศิลา ซึ่งมีผู้นำมาจากวัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วนำมาไว้ที่วัดโพธิ์ บางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ เป็นเวลากว่า 60 ปี พระครูใบฎีกาสังวาล ได้ไปขอมาจากวัดโพธิ์เพื่อนำมาไว้ที่วัดศรีสำราญราษฎร์บำรุง ภายหลังช่างทองฮ่อ เซงสุภา ได้มีจิตศรัทธานำไปปั้นเป็นองค์ต่อ แต่ยังไม่เสร็จก็ได้เสียชีวิตลง พระครูในฎีกาสังวาล จึงนำกลับมายังวัดศรีสำราญราษฎร์บำรุง แล้วให้ช่างที่จังหวัดสุพรรณบุรีมาดำเนินการต่อ โดยปั้นเป็นองค์สำเร็จด้วยปูนซีเมนต์  ในปี พ.ศ. 2539 พระครูสาครสิทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดศรีสำราญราษฎร์บำรุงองค์ปัจจุบัน ได้ให้ช่างมาหล่อทองเป็นทองเหลืองหุ้มทับองค์พระเดิมทั้งองค์

    หลวงพ่อพักตร์เป็นพระพุทธรูปที่ชาวตำบลอ้อมน้อยและตำบลใกล้เคียงให้ความเคารพศรัทธาเลื่อมใสเป็นอย่างยิ่ง กล่าวกันว่าผู้ที่เจ็บป่วย หากมาบนบานศาลกล่าว และขอน้ำมนต์เพื่อนำไปดื่ม ก็จะพ้นจากความเจ็บป่วยสมดังปรารถนา จึงทำให้มีผู้ศรัทธาในพระพุทธรูปหลวงพ่อพักตร์มากยิ่งขึ้น จนต่อมาในภายหลังทางวัดได้มีการจัดงานเทศกาลประจำปีปิดทองหลวงพ่อพักตร์ขึ้นในวันที่ 1 - 5 พฤษภาคมของทุกปี
 
คุณค่าทางโบราณวัตถุ
 
    พระพุทธรูปหลวงพ่อพักตร์ เป็นพระพุทธรูปศิลาแลง ปางอู่ทอง ศิลปะสมัยอยุธยา มีขนาดหน้าตักกว้าง 93 นิ้ว สูง 135 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปที่มีความสวยงามมาก มีพุทธลักษณะผสมผสานพระพุทธรูปสมัยทราวดี สมัยลพบุรี และศิลปะของชนพื้นเมืองชาวอโยธาเอง มีพุทธลักษณะเด่นชัด คือ วงพระพักตร์เป็นสี่เหลี่ยม มีไรพระศกเป็นกรอบวง พักตร์พระหนุป้านเป็นรูปคางคน พระนาสิกเป็นคมสัน  พระขนงชัดเจนเป็นเส้นกระด้างคล้ายปีกนกบรรจบกัน ปริมาตรของพระพักตร์ดูแบน ขมวดพระเกศามีขนาดเล็กเป็นจุด พระรัศมีมีทั้งทำอย่างเป็นต่อมและทำเป็นเปลว ผ้าครองทำชาย สังฆาฏิยาว นิยมนั่งขัดสมาธิราบ ฐานหน้ากระดานเป็นเข้าร่องและแอ่นเข้าข้างใน เนื้อโลหะสำริดหล่อได้บางเป็นพิเศษ
 

 

โดย : วัดศรีสำราญราษฎร์บำรุง

ที่อยู่ : ต.อ้อมน้อย อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร

จำนวนเข้าดู : 1060

ปรับปรุงล่าสุด : 6 มีนาคม พ.ศ. 2565 16:36:19

ข้อมูลเมื่อ : 29 กันยายน พ.ศ. 2564 08:13:43

 
 
 
 

ปูชนียวัตถุสถาน 10 อันดับ

หลวงพ่อแดง วัดเกาะวังไทร

โดย : วัดเกาะวังไทร

ข้อมูลเมื่อ : 01-02-2567

เปิดดู : 115

หลวงพ่อโต วัดดอนไก่ดี

โดย : วัดดอนไก่ดี

ข้อมูลเมื่อ : 25-12-2566

เปิดดู : 120

พระพิฆเนศ ปางเสวยสุข

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 23-12-2566

เปิดดู : 129

พระพุทธโตรโลกนาถ(หลวงพ่อขาว)

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 23-12-2566

เปิดดู : 130

หลวงพ่อโตทันใจ

โดย : วัดอัมพวนาราม

ข้อมูลเมื่อ : 05-11-2564

เปิดดู : 193

หลวงพ่อโต ป่าเลไลยก์

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 09-12-2566

เปิดดู : 128