เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8346 รูป
สามเณร
302 รูป
แม่ชี
89 รูป
ศิษย์วัด
33 คน
บุคคลทั่วไปชาย
39 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
52 คน
ทั้งหมด
8861 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
40 รูป
สามเณร
27 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
71 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7191 รูป
ลาสิกขา
35 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ปูชนียวัตถุสถาน

วิหารจีน

รายละเอียด
          วิหารจีนเป็นวิหารที่หลวงพ่อขอมสร้างขึ้นเพื่อแสดงให้พุทธศาสนิกชนทราบว่าพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธนับถืออยู่นี้ประกอบด้วยนิกายใหญ่ ๆ ๒ นิกายคือเถรวาทและมหายาน ด้านนอกวิหารจะมีรูปปั้นพระถังซัมจั๋งนั่งอยู่บนหลังม้า ซึ่งแสดงเรื่องราวการเดินทางไปประเทศอินเดียเพื่อไปศึกษาและนำพระไตรปิฎกกลับประเทศจีน         ถังซัมจั๋ง (อักษรจีน: 唐三藏) เป็นพระภิกษุที่บำเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญามาแต่เยาว์ เมื่อเติบใหญ่ขึ้นจึงได้ออกเดินทาง ได้เขียนเป็น
บันทึกการเดินทางไว้ในปี พ.ศ.๑๑๘๓ มีชื่อว่า "ต้าถังซีโหยวจี้" (大唐西游记) แปลว่า "จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถัง" ได้เล่าถึงการเดินทางสู่ประเทศอินเดีย เมื่อเดินทางกลับมาประเทศจีน ได้นำพระสูตรทั้งมหายานและเถรวาทกลับมาด้วยกว่า ๖๐๐  ม้วน เพื่อกลับมาแปลเป็นภาษาจีน
          พระถังซัมจั๋งได้ศึกษาที่มหาวิทยาลัยนาลันทานานถึง ๑๗ ปี รวมระยะเวลาไปกลับทั้งสิ้น ๑๙ ปี เป็นระยะทางกว่า ๕ หมื่นลี้ ส่งให้จดหมายเหตุของท่านนั้น เป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญยิ่ง เมื่อเดินทางกลับจีนท่านได้นำพระไตรปิฎกฉบับภาษาสันสกฤตกลับมาด้วย ท่านเดินทางถึงเมืองหลวงของจีนคือ เมืองฉางอาน ในปี พ.ศ.๑๑๘๘ ในสมัยพระเจ้าถังไท่จง พระองค์ทรงเป็นปราชญ์ผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จึงทรงอุปถัมภ์การแปลพระไตรปิฎกจากภาษาสันสกฤตเป็นภาษาจีน และได้ทรงอาราธนาพระถังซัมจั๋งให้เขียนบันทึกการเดินทางไปอินเดีย จึงปรากฏหนังสือเรื่อง ต้าถังซีวีจี้ ในรัชกาลต่อมา พระเจ้าถังเกาจงทรงรับอุปถัมภ์งานแปลพระไตรปิฎกต่อ พระถังซัมจั๋งดำเนินงานต่อไปจนมรณภาพในปี พ.ศ.๑๒๐๗ คนไทยจะรู้จัก
พระถังซัมจั๋งกันดีในนิยายเรื่อง “ไซอิ๋ว” ส่วนภายในวิหารจะมีรูปพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์และทวยเทพในนิกายมหายานเช่น พระไวโรจนพุทธะ พระอมิตาภพุทธะ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ พระทุนทุภิเมฆนิรโฆษพุทธะ พระเมตไตรยโพธิสัตว์ พระรัตนธวัชพุทธะ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ พระมุกตปุษยปราชาพุทธะ และพระมัญชุโพธิสัตว์

โดย : วัดไผ่โรงวัว

ที่อยู่ : ต.บางตาเถร อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี

จำนวนเข้าดู : 78

ปรับปรุงล่าสุด : 17 ตุลาคม พ.ศ. 2564 08:59:00

ข้อมูลเมื่อ : 17 ตุลาคม พ.ศ. 2564 08:58:25

 
 
 
 

ปูชนียวัตถุสถาน 10 อันดับ

หลวงพ่อแดง วัดเกาะวังไทร

โดย : วัดเกาะวังไทร

ข้อมูลเมื่อ : 01-02-2567

เปิดดู : 106

หลวงพ่อโต วัดดอนไก่ดี

โดย : วัดดอนไก่ดี

ข้อมูลเมื่อ : 25-12-2566

เปิดดู : 113

พระพิฆเนศ ปางเสวยสุข

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 23-12-2566

เปิดดู : 125

พระพุทธโตรโลกนาถ(หลวงพ่อขาว)

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 23-12-2566

เปิดดู : 129

หลวงพ่อโตทันใจ

โดย : วัดอัมพวนาราม

ข้อมูลเมื่อ : 05-11-2564

เปิดดู : 192

หลวงพ่อโต ป่าเลไลยก์

โดย : วัดบัวหวั่น

ข้อมูลเมื่อ : 09-12-2566

เปิดดู : 126