เข้าสู่ระบบสมาชิก
สถิติสารสนเทศ
วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรมหาวิหาร
1 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นเอก วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรมหาวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นโท วรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี ราชวรวิหาร
0 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี วรวิหาร
2 วัด
พระอารามหลวง ชั้นตรี สามัญ
9 วัด
วัดราษฎร์
1455 วัด
สำนักสงฆ์
83 วัด
ที่พักสงฆ์
72 วัด
วัดร้าง
2 วัด
วัดทั้งหมด
1624 วัด
 
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
8348 รูป
สามเณร
302 รูป
แม่ชี
89 รูป
ศิษย์วัด
33 คน
บุคคลทั่วไปชาย
39 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
52 คน
ทั้งหมด
8863 รูป/คน
 
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
40 รูป
สามเณร
25 รูป
แม่ชี
1 รูป
ศิษย์วัด
3 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
69 รูป/คน
 
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
7196 รูป
ลาสิกขา
34 รูป
มรณภาพ
10 รูป
 

ข้อมูลทั่วไป

QR Code วัดกกตาล

รหัสวัด

ชื่อวัด
วัดกกตาล

นิกาย
มหานิกาย

ประเภทวัด
วัดราษฎร์

วันตั้งวัด
ปี 2425

วันรับวิสุงคามสีมา
วันที่ 01 เดือน กรกฎาคม ปี 2517

ที่อยู่
-

เลขที่
๓๗

หมู่ที่

ซอย
-

ถนน
สีมารัตน์ราษฏร์พัฒนา

แขวง / ตำบล
สัมปทวน

เขต / อำเภอ
นครชัยศรี

จังหวัด
นครปฐม

ไปรษณีย์
๗๓๑๒๐

เนื้อที่
๔๕ ไร่ - งาน ๔๗ ตารางวา

จำนวนเข้าดู : 1694

ปรับปรุงล่าสุด : 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 22:09:04

ข้อมูลเมื่อ : 15 กันยายน พ.ศ. 2564 00:00:00

 
 
 
 

ประวัติความเป็นมา

วัดกกตาลเดิมมีชื่อว่าวัด  วัดปิ่นจันทาราม  ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2430 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2517[1] อาคารเสนาสนะและสิ่งก่อสร้างที่สำคัญ ได้แก่ หารหลวงพ่อวัว เจดีย์ และโบสถ์ ซึ่งมีความเก่าแก่เป็นอย่างมาก อีกทั้งหน้าวัดยังมีผู้คนนิยมนำอาหารมาเลี้ยงปลากันมากมา[2]

ในสมัยหลวงพ่อพระครูมงคลศิริชัย (สนิท นิพภโย) เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ. 2500 ท่านได้พัฒนาวัดสร้างสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ทั้งบูรณะอุโบสถ สร้างกุฏิสงฆ์ใหม่หลายหลัง สร้างศาลาการเปรียญให้กว้างขวาง รวมทั้งบริจาคสาธารณกุศลช่วยชุมชน จนเป็นที่รู้จักศรัทธาเลื่อมใส เป็นพระที่เปี่ยมด้วยเมตตาธรรม[3] ท่านได้สร้างวัตถุมงคลมากมาย เช่น ธงมหามงคล ที่มีพุทธคุณด้านเมตตามหานิยม ทำมาค้าขายได้ดี เงินทองเข้าร้านร่ำรวย และสร้างเหรียญขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2506 รุ่นแรก ลักษณะแบบใบเสมา มีรูปท่านครึ่งองค์ เนื้อทองแดงรมดำ จำนวน 5,000 เหรียญ โดดเด่นด้านเมตตามหานิยมและคงกระพันชาตรี เป็นต้น[4]

รายนามเจ้าอาวาส[แก้]

  • หลวงพ่อเกิด
  • พระอาจารย์กอบ
  • พระอาจารย์จันทร์
  • พระอาจารย์ฟัก
  • พระอาจารย์แก้ว
  • พระอาจารย์พุฒ พ.ศ. 2476
  • พระอาจารย์ย้อย พ.ศ. 2476–2498
  • พระครูมงคลสิริชัย พ.ศ. 2499
  • พระมหาไพศาล  โฆสธมฺโม พ.ศ.2564

รายการพระ

พระมหาไพศาล โฆสธมฺโม

ตำแหน่ง : เจ้าอาวาส

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 28-12-2564

ณัฐพัชร์ ภทฺทวโร

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-12-2564

สุรเดช สุขกาโม

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-12-2564

ประยุทธ อตฺตสาโร

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-12-2564

นพพร ฐิตคุโณ

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-12-2564

อนุชา กตนาโถ

ข้อมูลเมื่อ : 15-12-2564

ปรับปรุงล่าสุด : 15-12-2564

ข่าวประชาสัมพันธ์จากวัด

ยังไม่มีข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์

เทศกาลงานบุญประเพณี

ยังไม่มีข้อมูลเทศกาลงานบุญประเพณี

ปูชนียวัตถุสถาน

ยังไม่มีข้อมูลปูชนียวัตถุสถาน

วีดีโอพระพุทธศาสนา

ยังไม่มีข้อมูลวีดีโอพระพุทธศาสนา

สาระธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสาระธรรม

สื่อมีเดีย

ยังไม่มีข้อมูลสื่อมีเดีย

สำนักปฏิบัติธรรม

ยังไม่มีข้อมูลสำนักปฏิบัติธรรม

ทรัพย์สินของวัด

ยังไม่มีข้อมูลทรัพย์สินของวัด

โครงการและกิจกรรมเด่น

ยังไม่มีข้อมูลโครงการและกิจกรรมเด่น

ทำบุญกับวัด

ยังไม่มีข้อมูลทำบุญกับวัด